ค้นหาบล็อกนี้

วันอังคารที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2553

10 Gigabit Ethernet เครือข่ายสำหรับอนาคต


    มาตราฐานของระบบเครือข่าย Gigabit Ethernet  ยุคต่อไปจะเป็นมาตราฐานเครือข่ายความเร็ว  10 Gigabitซึ่งได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง  5  ปี  นับว่าเป็นนวัตกรรมทางเทคโนโลยีทางเทคโนโลยีเครือข่ายที่น่าสนใจ และเป็นมาตราฐานขนาดใหญ่ในระดับ  MAN (Metropolitan Area Network)  ไม่ใช่เพียงแค่ระบบเครือข่าย Lan อีกต่อไป     ในเดือนมีนาคม ค.ศ  1998  ได้มีการจัดตั้งพัฒนาคณะทำงานเพื่อพัฒนามาตราฐาน  IEEE 802.3 ที่มีความเร็วสูงขึ้น เรียกว่า  IEEE 802.3 (Higher Speed Study Group)
มีจุดประสงค์เบื้องต้นสำหรับมาตราฐานดังต่อไปนี้
l.สนับสนุนมาตราฐานการทำงานของ  Ethernet  ที่มีความเร็ว กิกะบิต ด้วยต้นทุนค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่า
1 Gigabit  Ethernet 2-3  เท่า
2.เป็นระบบที่ยังใช้มาตราฐานของเฟรมแบบ  802.3
3.สามารถเข้าได้กับเครือข่าย   Ethernet  มาตราฐาน   IEEE 802.3   ต่างๆได้

แหล่งที่มา :  วารสาร ไมโครคอมพิวเตอร์ ปี 52  ฉบับที่  289  สิงหาคม 2552 : 69:71

มาตราฐานการสื่อสารไร้สาย ZigBee

       Zigbee   เป็นมาตราฐานการสื่อสารไร้สารที่ใช้ระดับ  PAN (Personal  Area  Network)  เช่น  Wireless Sersor   ที่ได้รับความนิยมทางการทหาร สามารนำมาประยุกต์ใช้งานควบุมระบบต่างๆได้
รู้จักในนามของ  IEEE 802.15.4  และ ผู้ใช้เชิงพาณิชย์ โดยเฉพาะการประยุต์ใช้งานด้านเครื่อข่ายเซนเซอร์ไรสารและงานควบคุมอุตสาหกรรมและงานอื่นๆอีกมากมาย
        การทดสอบเครื่องส่ง  Zigbee  คุณภาพสัญญาณที่ผ่านมอดูเลชันในการแปลงสัญญาณของสเปกตรัมที่ปล่อย ออกมาจากเครื่องส่งจะเป็นตัวบอกความสามารถในการใช้งานร่วมอุปกรณ์ในความถี่
ISM (Industrial Scientific and Medical)  คุณภาพสัญญาณส่งและประสิทธิภาพของสายอากาศจะเป็นตัวกำหนดระยะทางที่ไกลที่สุด


แหล่งที่มา :  วารสาร เซมิคอนดักชัน อิเล็กทรอนิกส์  ฉบับที่ 341 มีนาคม  2553; 154:157

LTE เทคโนโลยีสุดล้ำแห่งปี 2010

  

   เทคโนโลยี  LTE   เป็นการเติบโตของ Internet  ได้ทำให้บรอดแบนด์อินเทอร์เน็ตซึ่งจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดก็คือ   ADSL   เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเข้ากับคอมพิวเตอร์ตามบ้านที่เดินสายไปถึงนั้นก็นับว่าดีที่สุดแล้ว   เพราะไม่ต้องลงทุนมากนัก   
      เทคโนโลยีเด่นของ  LTE  นั้นมีความโดดเด่นและสามารถตอบสนองกับความต้องการได้
และข้อกำหนด มาตราฐาน  LTE  ได้
1. เทคโนโลยี  OEDMA ( Orthogonal  Frequency Division Multiple Access)  เทคโนโลยีความถี่คลื่นวิทยุนำมาใช้กับเทคโนโลยีการสื่อสารใหม่ต่างๆ เช่น    WiMax , LTE
2.SC- FDMA (Single Carrier - FDMA)  หลักการจะแยกจากบิตออกเป็นส่วนๆเพื่อป้อนเข้าไปยัง  IFFT
เพื่อทีกระจายบิตไปความถี่ต่างๆ
3.MIMO (Multiple  Input Multiple Output) เป็นเทคโนโลยีความเร็วสูงและมีสายอากาศในการรับส่งสัญญาณ หรือ  Antenna
4.Fractional  Frequency  Reuse ซึงเป็นการวางแผนความถี่จะต้องใช้หลักการ   Frequency Reuse
ของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่  

แหล่งที่มา :    วารสาร  Micro computer   ฉบับที่  341  2553:109:113

Digital Camera

 กล้องดิจิตอลเป็นกล้องใช้สำหรับถ่ายรูปได้และที่ไม่ใช้ฟิลม์ ซึ่งตัวกล้องจะใช้หน่วยความจำที่ถอดออกได้ เรียกว่า  Memory Card    กล้องดิจิตอลดูภาพจากที่จะถ่ายจากหน้าจอ  LCD  ทำให้สะดวกและประหยัด   กล้องดิจิตอลแบ่งออกตามลักษณะการใช้งานโครงสร้างเป็น  2  ประเภท




1)    กล้องดิจิตอลแบบ    Compact   เป็นกล้องที่มีขนาดเล็กน้ำหนักเบา ราคาไม่แพง  ใช้งานง่าย
เนื่องจากมีรูปแบบการถ่ายภาพสำเร็จรูปไว้เลือกอยู่แล้ว เช่น ภาพบุคคล  เด็ก สัตว์เลี้ยง วิวทิวทัศน์
เป็นต้น  เลนซ์กล้องชนิดนี้ ไม่สามารถถอดเปลี่ยนได้






2)   กล้องแบบ SLR ( Single Lens Reflect )  กล้องชนิดนี้ทำงานโดยอาศัยการสะท้อนแสงจากกระจกผ่านเลนส์ได้ ทำให้ได้ภาพที่ถ่ายใกล้เคียงกับการมองเห็น และสามารถถอดเปลี่ยนเลนส์แบบอื่นๆได้ เช่น มุมกว้าง  (Wide Angle)  ถ่ายระยะไกล  (TeLe)  ตัวกล้องมีขนาดใหญ่มีฟังก์ชั่นสำหรับแต่งมากมาย แต่มีราคาแพงกว่าแบบกล้อง Compact   เหมาะสำหรับถ่ายภาพแบบมืออาชีพ


แหล่งที่มา :  รตอ. ไฟบูลย์ เปียศิริ  " กล้องดิจิตอล " 
                             หนังสือแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์อย่างเซียน (ทีพิมพ์ 2550) 18:19

Delta Sigma Convertor


Delta Sigma  Modulation  ก็คือ การมอดูเลชั่นด้วยวิธีการเดลต้าซิม่าหรือการแปลงสัญญาณวิธีหนึ่งที่นิยมใช้กันเนื่องจากมีความละเอียดสูง  ในการแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็นดิจิตอล  นอกจากเหมาะสำหรับงานที่ต้องการแบบแบนด์วิธต่ำถึงปานกลาง ส่วนคำว่า  Delta Sigma Convertor   คือ การแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็นดิจิตอล  เช่น ออสซิลโลสโคป เครื่องมือวัดซึ่งภายในมีวงจรที่เป็นการแปลงสัญญาณ ADC  ไปเป็น DAC 


แหล่งที่มา : วารสาร  อิเล็กทรอนิส์, ปีที่ 20, ฉบับที่ 340 2553:144

EOG สัญญาณไฟฟ้าในดวงตา

 EOG   Electro Oculography  เป็นเทคนิคในการวัดศักย์ไฟฟ้าของจอแก้วตา  retina  สัญญาณที่ได้จากการวัดจะเรียกว่า  Electro Oculogram  ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้งาน  EOG  ในการวินิจฉัยความผิดปกติของระบบการมองเห็นและการใช้ใน การตรวจจับการเคลื่อนไหวของนัยน์ตา  ซึ่งอาจนำไปใช้ในการพัฒนาอุปกรณ์  ในการอินเฟสสหรับคนพิการ และในปัจจุบันยังมีการใช้ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์และเกมส์ใหม่ๆด้วย   
     การประยุกต์  EOG  ในการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ช่วยเหลือผู้พิการโดยผู้พิการไม่สามาถขยับร่างกายได้แต่ใช้สามารถทางลูกตาที่มีอยู่ในการ  trigger   สัญณาณควบคุมอุปกรณ์ต่างๆภายในบ้านได้ สำหรับคนปกติแล้ว  EOG  จะมีความถี่ค่าตั้งแต่  0.05 - 35 mv  และมีความถี่สูงสุด  32 Hz   ปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ช่วยเหลืออยู่ในการออกแบบขั้นตอน โดยมันสามารถตรวจจับสัญยาณ  sersor  ได้แบบ
Realtime  จึงสามารถนำไปอินเตอร์เฟสและควบคุมต่างๆภายในบ้าน


แหล่งที่มา : วารสาร อิเล็กทรอนิกส์ ปีที่ 20, ฉบับที่  340 2553:167